วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2554










A Brief History of Columbia

Columbia University was founded in 1754 as King's College by royal charter of King George II of England. It is the oldest institution of higher learning in the state of New York and the fifth oldest in the United States.
Controversy preceded the founding of the College, with various groups competing to determine its location and religious affiliation. Advocates of New York City met with success on the first point, while the Anglicans prevailed on the latter. However, all constituencies agreed to commit themselves to principles of religious liberty in establishing the policies of the College.
Columbia's first home: Trinity Church schoolhouse
In July 1754, Samuel Johnson held the first classes in a new schoolhouse adjoining Trinity Church, located on what is now lower Broadway in Manhattan. There were eight students in the class. At King's College, the future leaders of colonial society could receive an education designed to "enlarge the Mind, improve the Understanding, polish the whole Man, and qualify them to support the brightest Characters in all the elevated stations in life." One early manifestation of the institution's lofty goals was the establishment in 1767 of the first American medical school to grant the M.D. degree.
The American Revolution brought the growth of the college to a halt, forcing a suspension of instruction in 1776 that lasted for eight years. However, the institution continued to exert a significant influence on American life through the people associated with it. Among the earliest students and trustees of King's College were John Jay, the first chief justice of the United States; Alexander Hamilton, the first secretary of the treasury; Gouverneur Morris, the author of the final draft of the U.S. Constitution; and Robert R. Livingston, a member of the five-man committee that drafted the Declaration of Independence.
The college reopened in 1784 with a new name—Columbia—that embodied the patriotic fervor that had inspired the nation's quest for independence. The revitalized institution was recognizable as the descendant of its colonial ancestor, thanks to its inclination toward Anglicanism and the needs of an urban population, but there were important differences: Columbia College reflected the legacy of the Revolution in the greater economic, denominational, and geographic diversity of its new students and leaders. Cloistered campus life gave way to the more common phenomenon of day students who lived at home or lodged in the city.
Columbia's third home: East 49th Street and Madison Avenue
In 1857, the College moved from Park Place, near the present site of city hall, to Forty-ninth Street and Madison Avenue, where it remained for the next forty years. During the last half of the nineteenth century, Columbia rapidly assumed the shape of a modern university. The Columbia School of Law was founded in 1858. The country's first mining school, a precursor of today's Fu Foundation School of Engineering and Applied Science, was established in 1864 and awarded the first Columbia Ph.D. in 1875.
When Seth Low became Columbia's president in 1890, he vigorously promoted the university ideal for the College, placing the fragmented federation of autonomous and competing schools under a central administration that stressed cooperation and shared resources. Barnard College for women had become affiliated with Columbia in 1889; the medical school came under the aegis of the University in 1891, followed by Teachers College in 1893. The development of graduate faculties in political science, philosophy, and pure science established Columbia as one of the nation's earliest centers for graduate education. In 1896, the trustees officially authorized the use of yet another new name, Columbia University, and today the institution is officially known as Columbia University in the City of New York.
Columbia's fourth home: Morningside Heights
Low's greatest accomplishment, however, was moving the university from Forty-ninth Street to the more spacious Morningside Heights campus, designed as an urban academic village by McKim, Mead, and White, the renowned turn-of-the-century architectural firm. Architect Charles Follen McKim provided Columbia with stately buildings patterned after those of the Italian Renaissance. The University continued to prosper after its move uptown in 1897.
During the presidency of Nicholas Murray Butler (1902–1945), Columbia emerged as a preeminent national center for educational innovation and scholarly achievement. The School of Journalism was established by bequest of Joseph Pulitzer in 1912. John Erskine taught the first Great Books Honors Seminar at Columbia College in 1919, making the study of original masterworks the foundation of undergraduate education, and in the same year, a course on war and peace studies originated the College's influential Core Curriculum.
The construction of Low Memorial Library
Columbia became, in the words of College alumnus Herman Wouk, a place of "doubled magic," where "the best things of the moment were outside the rectangle of Columbia; the best things of all human history and thought were inside the rectangle."
The study of the sciences flourished along with the liberal arts. Franz Boas founded the modern science of anthropology here in the early decades of the twentieth century, even as Thomas Hunt Morgan set the course for modern genetics. In 1928, Columbia–Presbyterian Medical Center, the first such center to combine teaching, research, and patient care, was officially opened as a joint project between the medical school and The Presbyterian Hospital.
By the late 1930s, a Columbia student could study with the likes of Jacques Barzun, Paul Lazarsfeld, Mark Van Doren, Lionel Trilling, and I. I. Rabi, to name just a few of the great minds of the Morningside campus. The University's graduates during this time were equally accomplished—for example, two alumni of Columbia's School of Law, Charles Evans Hughes and Harlan Fiske Stone (who was also dean of the School of Law), served successively as Chief Justice of the United States Supreme Court.
The construction of South Hall (later renamed Butler Library)
Research into the atom by faculty members I. I. Rabi, Enrico Fermi, and Polykarp Kusch brought Columbia's Department of Physics to international prominence in the 1940s. The founding of the School of International Affairs (now the School of International and Public Affairs) in 1946 marked the beginning of intensive growth in international relations as a major scholarly focus of the University. The oral-history movement in the United States was launched at Columbia in 1948.
Columbia celebrated its bicentennial in 1954 during a period of steady expansion. This growth mandated a major campus building program in the 1960s, and, by the end of the decade, five of the University's schools were housed in new buildings.
It was also in the 1960s that Columbia experienced the most significant crisis in its history. Currents of unrest sweeping the country—among them opposition to the Vietnam War, an increasingly militant civil rights movement, and the ongoing decline of America's inner cities—converged with particular force at Columbia, casting the Morningside campus into the national spotlight. More than 1,000 protesting students occupied five buildings in the last week of April 1968, effectively shutting down the University until they were forcibly removed by the New York City police. Those events led directly to the cancellation of a proposed gym in Morningside Park, the cessation of certain classified research projects on campus, the retirement of President Grayson Kirk, and a downturn in the University's finances and morale. They also led to the creation of the University Senate, in which faculty, students, and alumni acquired a larger voice in University affairs.
Statue of Alexander Hamilton, Hamilton Hall
In recent decades, Columbia's campuses have seen a revival of spirit and energy that have been truly momentous. Under the leadership of President Michael Sovern, the 1980s saw the completion of important new facilities, and the pace intensified after George Rupp became president in 1993. A 650-million-dollar building program begun in 1994 provided the impetus for a wide range of projects, including the complete renovation of Furnald Hall and athletics facilities on campus and at Baker Field, the wiring of the campus for Internet and wireless access, the rebuilding of Dodge Hall for the School of the Arts, the construction of new facilities for the Schools of Law and Business, the renovation of Butler Library, and the creation of the Philip L. Milstein Family College Library.
The University also continued to develop the Audubon Biotechnology and Research Park, securing Columbia's place at the forefront of medical research. As New York City's only university-related research park, it also is contributing to economic growth through the creation of private-sector research collaborations and the generation of new biomedically related business.
A new student-activities center, Alfred Lerner Hall, opened in 1999 and features the Roone Arledge Auditorium and Cinema. Current building projects include major renovations to Hamilton Hall and Avery Library.
These and other improvements to the University's physical plant provide a visible reminder of the continuing growth and development of Columbia's programs of research and teaching. From its renowned Core Curriculum to the most advanced work now under way in its graduate and professional schools, the University continues to set the highest standard for the creation and dissemination of knowledge, both in the United States and around the world.
Clear in its commitment to carrying out such a wide-ranging and historic mission, and led by a new president, Lee C. Bollinger, Columbia is proud to celebrate its 250th anniversary and look ahead to the achievements to come.

The Columbia University Campus

Low Memorial Library
In 1897, the university moved from Forty-ninth Street and Madison Avenue, where it had stood for fifty years, to its present location on Morningside Heights at 116th Street and Broadway. Seth Low, the president of the University at the time of the move, sought to create an academic village in a more spacious setting. Charles Follen McKim of the architectural firm of McKim, Mead, and White modeled the new campus after the Athenian agora. The Columbia campus comprises the largest single collection of McKim, Mead & White buildings in existence.
The architectural centerpiece of the campus is Low Memorial Library, named in honor of Seth Low's father. Built in the Roman classical style, it appears in the New York City Register of Historic Places. The building today houses the University's central administration offices and the visitors center.
A broad flight of steps descends from Low Library to an expansive plaza, a popular place for students to gather, and from there to College Walk, a promenade that bisects the central campus. Beyond College Walk is the South Campus, where Butler Library, the university's main library, stands. South Campus is also the site of many of Columbia College's facilities, including student residences, Alfred Lerner Hall (the student center), and the College's administrative offices and classroom buildings, along with the Graduate School of Journalism.
To the north of Low Library stands Pupin Hall, which in 1966 was designated a national historic landmark in recognition of the atomic research undertaken there by Columbia's scientists beginning in 1925. To the east is St. Paul's Chapel, which is listed with the New York City Register of Historic Places.
Many newer buildings surround the original campus. Among the most impressive are the Sherman Fairchild Center for the Life Sciences and the Morris A. Schapiro Center for Engineering and Physical Science Research. Two miles to the north of Morningside Heights is the 20-acre campus of the Columbia University Medical Center in Manhattan's Washington Heights, overlooking the Hudson River. Among the most prominent buildings on the site are the 20-story Julius and Armand Hammer Health Sciences Center, the William Black Medical Research Building, and the 17-story tower of the College of Physicians and Surgeons. In 1989, The Presbyterian Hospital opened the Milstein Hospital Building, a 745-bed facility that incorporates the very latest advances in medical technology and patient care.
To the west is the New York State Psychiatric Institute; east of Broadway is the Audubon Biomedical Science and Technology Park, which includes the Mary Woodard Lasker Biomedical Research Building, the Audubon Business Technology Center, Russ Berrie Medical Science Pavilion, and the Irving Cancer Research Center as well as other institutions of cutting-edge scientific and medical research.
In addition to its New York City campuses, Columbia has two facilities outside of Manhattan. Nevis Laboratories, established in 1947, is Columbia's primary center for the study of high-energy experimental particle and nuclear physics. Located in Irvington, New York, Nevis is situated on a 60-acre estate originally owned by the son of Alexander Hamilton.
The Lamont-Doherty Earth Observatory was established in 1949 in Palisades, New York, and is a leading research institution focusing on global climate change, earthquakes, volcanoes, nonrenewable resources, and environmental hazards. It examines the planet from its core to its atmosphere, across every continent and every ocean. 








ประวัติ

ในปี พ.ศ. 2447 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์) ทรงมีพระราชวินิจฉัยให้อุดหนุนการทำไหมและทอผ้าของประเทศ[6] โดยได้ว่าจ้าง ดร.คาเมทาโร่ โทยาม่า[7][8] จากมหาวิทยาลัยโตเกียว ทดลองเลี้ยงไหมตามแบบฉบับของญี่ปุ่น สอนและฝึกอบรมนักเรียนไทยในวิชาการเลี้ยงและการทำไหม โดยมี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม พระราชโอรสในรัชกาลที่ 5 ซึ่งดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมช่างไหม กระทรวงเกษตราธิการในขณะนั้น ทรงจัดตั้งโรงเรียนช่างไหม[9] ขึ้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2447[10] ณ ท้องที่ตำบล ทุ่งศาลาแดง กรุงเทพมหานคร ซึ่งนับว่าเป็นสถาบันการศึกษาอันเกี่ยวกับการเกษตรแห่งแรก จากนั้นในภายหลังได้เปลี่ยนชื่อจากโรงเรียนช่างไหมแห่งนี้ เป็นโรงเรียนวิชาการเพาะปลูก ในปีพ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) เนื่องจากมีวิชาการเพาะปลูกพืชอื่น ๆเข้ามาประกอบ

โรงเรียนเกษตราธิการ พระราชวังวินด์เซอร์
ต่อมาโรงเรียนเกษตราธิการ ได้ถือกำเนิดขึ้น ในปี 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2451วังสระปทุม[11] โดยที่กระทรวงเกษตราธิการได้ทำการรวบรวมโรงเรียนที่อยู่ในสังกัดของกระทรวง 3 โรงเรียนคือโรงเรียนแผนที่ (จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2425) โรงเรียนกรมคลอง (จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2448) และโรงเรียนวิชาการเพาะปลูก เป็นโรงเรียนเดียวกันเพื่อผลิตคนเข้ารับราชการในกรมกองต่าง ๆ ของกระทรวงเกษตราธิการ ถือได้ว่าเป็นหลักสูตรระดับอุดมศึกษาวิชาเกษตรศาสตร์ หลักสูตรแรกของประเทศไทย โดยได้เริ่มดำเนินการสอนหลักสูตรใหม่นี้ในปี พ.ศ. 2452
ด้วยเหตุที่วัตถุประสงค์ของโรงเรียนกระทรวงเกษตราธิการ ตรงกับพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์) ในเรื่องของการจัดตั้ง โรงเรียนข้าราชการพลเรือน[12] ซึ่งได้ทรงจัดตั้งขึ้นในกระทรวงธรรมการ โรงเรียนกระทรวงเกษตราธิการจากเดิมที่สังกัดกระทรวงเกษตราธิการจึงย้ายมาสังกัดกระทรวงธรรมการ ในปี พ.ศ. 2456โดยใช้ วังวินด์เซอร์[13] เป็นสถานที่ทำการเรียนการสอนของโรงเรียนกระทรวงเกษตราธิการที่ยุบเข้ารวมกับ โรงเรียนข้าราชการพลเรือน

หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อแรกสร้าง

ภาพขณะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานปริญญาบัตร เมื่อในอดีต
และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงส่งนักเรียนไทยไปเรียนต่างประเทศจำนวนมาก ในจำนวนนี้มีพระยาเทพศาสตร์สถิตย์ และ เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) เสนาบดีกระทรวงธรรมการ ทั้ง 2 ท่านได้เริ่มก่อตั้งโรงเรียนด้านการเกษตรโดยสังกัดกระทรวงเกษตราธิการขึ้นมาอีกครั้ง ในนาม "โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม" ตั้งอยู่ที่ ตำบลหอวังในปี พ.ศ. 2460 ภายหลังจึงได้มีการย้ายการเรียนการสอนไปที่ ตำบลพระประโทน อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ในปี พ.ศ. 2461[14]
ในปี พ.ศ. 2474 หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ได้ร่วมกันขยายการจัดตั้ง โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม ไปสู่ระดับภูมิภาคมากขึ้น โดยภาคกลางตั้งอยู่ที่จังหวัดสระบุรี ภาคเหนือตั้งอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ ภาคอีสานตั้งอยู่ที่จังหวัดนครราชสีมา และภาคใต้ตั้งอยู่ที่จังหวัดสงขลา
พ.ศ. 2478 โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมในภูมิภาคต่างๆ ได้ปิดตัวลงตามข้อบังคับของการปรับเปลี่ยนระบบราชการในขณะนั้น จึงได้มีการยุบรวมโรงเรียนในส่วนภูมิภาคทั้งหมดเข้าไว้ด้วยกัน หลวงอิงคศรีกสิการ หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ และพระช่วงเกษตรศิลปการ (สามบูรพาจารย์ผู้ให้กำเนิดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) [15][16] จึงเสนอให้รักษาโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม (ปัจจุบันมหาวิทยาลัยแม่โจ้)ไว้ที่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ เพียงแห่งเดียว และเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น "โรงเรียนมัธยมวิสามัญเกษตรกรรม" ต่อมาจึงได้มีการยกฐานะของโรงเรียนจนก่อตั้งเป็น "วิทยาลัยเกษตรศาสตร์" มีฐานะเป็นกองวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในกรมเกษตรและประมง ตามความต้องการของกระทรวงเกษตราธิการ
ต่อมากระทรวงเกษตราธิการได้จัดตั้งสถานีเกษตรกลางขึ้นในท้องที่ อำเภอบางเขน จังหวัดพระนคร (กรุงเทพมหานคร) ดังนั้น จึงได้ย้ายวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มาตั้งอยู่ที่ อ. บางเขนในปี พ.ศ. 2481 และให้ส่วนราชการที่ อำเภอสันทราย เป็น "โรงเรียนเตรียมเกษตรศาสตร์" เพื่อเป็นการเตรียมนิสิตให้วิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่ อำเภอบางเขนต่อไป [17]
ในปี พ.ศ. 2486 วิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น "มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์" ในรัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีฐานะเป็นกรมในสังกัดกระทรวงเกษตราธิการ[18] และให้แต่งตั้งข้าราชการประจำ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการมหาวิทยาลัย หลวงสินธุสงครามชัย ในฐานะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ เป็นผู้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีคนแรก มีการเปิดสอนใน 4 คณะ[19] คือ โดยมี คณะกสิกรรมและสัตวบาล คณะการประมง คณะวนศาสตร์ และคณะสหกรณ์ เป็นคณะแรกตั้ง (ในปัจจุบันคือ คณะเกษตร[20] คณะประมง[21] คณะวนศาสตร์[22] คณะเศรษฐศาสตร์[23] และ คณะบริหารธุรกิจ[24])

 ชื่อและความหมาย

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้คำว่า "เกษตรศาสตร์" เป็นชื่อภาษาไทยของมหาวิทยาลัย และใช้คำว่า "Kasetsart" ในภาษาอังกฤษ
"เกษตรศาสตร์" มาจากคำว่า เกษตร (เขต หรือ แผ่นดิน) และ ศาสตร์ (ความรู้ หรือ การศึกษา) ซึ่งรวมกันมีความหมายโดยทั่วไปว่า การศึกษาเกี่ยวกับเขตและแผ่นดิน หรือ ศาสตร์แห่งแผ่นดิน คำนี้ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า Agriculture แปลว่า การเพาะปลูกแบบรูปธรรม มีรากคำมาจากภาษาละตินคือคำว่า agrīcultūra : agrī หมายความถึงสิ่งที่เป็นรูปธรรม และคำว่า cultūra หมายความถึง วัฒนธรรม, สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น หรือการเพาะปลูก[25]
คำว่า "เกษตร" อันเป็นชื่อของมหาวิทยาลัยนั้น มีที่มาจากการที่กระทรวงเกษตราธิการต้องการจัดตั้งสถาบันการศึกษาวิชาการเกษตรอันเนื่องด้วยวิชาการผลิตและการค้า เพื่อผลิตคนเข้ารับราชการในกรมกองต่างๆ ของกระทรวงเป็นการเฉพาะ[26] โดยคำว่า "เกษตร" นั้นถูกจารึกขึ้นในประวัติศาสตร์สยามครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ในปี พ.ศ. 1893[27] ได้มีการจัดตั้งการปกครองแบบจตุสดมภ์ขึ้น คือ เวียง วัง คลัง นา ซึ่งตำแหน่งเสนาบดีกรมนาในขณะนั้นมีชื่อเรียกว่า "ขุนเกษตราธิบดี" มีอำนาจทั้งทางบริหารและอำนาจตุลาการใน"การจัดการเรื่องที่ดินและชลประทาน" เพื่อเอื้ออำนวยประโยชน์แก่ประชาชนในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม การเลี้ยงชีพ การผลิตและการค้ากับนานาประเทศ ภายหลังจึงมีการเปลี่ยนชื่อกรมนา เป็นกระทรวงเกษตรพนิชการ, กระทรวงเกษตราธิการ, กระทรวงเกษตรพาณิชยการ, กระทรวงเศรษฐการ, กระทรวงเกษตราธิการ, กระทรวงเกษตร จนมาสู่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตามลำดับ[28][29][30]
ส่วนคำว่าเกษตรตามความหมายพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้คำจำกัดความไว้ว่า เกษตร [กะเสด] น. ที่ดิน, ทุ่ง, นา, ไร่; ซึ่งความหมายในโบราณกาลว่า เขต, แดน (ในภาษาสันสกฤตจะใช้คำว่า เกฺษตฺร ส่วนภาษาบาลีจะใช้คำว่า เขตฺต). เช่นคำว่า
พุทธเกษตร (พุทธ+เกษตร) แปลความหมายว่า ดินแดนแห่งพุทธ
กษัตริย์ (เกษตร+อริย) แปลความหมายว่า พระเจ้าแผ่นดิน
ในระหว่าง พ.ศ. 2518 ได้มีการวิ่งเต้นขอให้เปลี่ยนชื่อมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จากบุคคลกลุ่มหนึ่ง โดยอ้างเหตุผลนานัปการทำให้เกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรงในสังคมของชาวมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีการแถลงข่าวโจมตีซึ่งกันและกัน ระหว่างฝ่ายที่อยากให้เปลี่ยนชื่อและไม่ประสงค์ให้เปลี่ยนชื่อ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยได้อนุญาตให้นิสิตหยุดเรียนครึ่งวันเพื่อจัดทำประชามติในเรื่องนี้ ภายหลังจึงมีการเห็นสมควรให้มีการใช้ชื่อ เกษตรศาสตร์ เป็นชื่อของมหาวิทยาลัย เพื่อเป็นการระลึกและย้ำเตือนถึงศาสตร์อันเป็นรากฐานวัฒนธรรม ความรู้ และวิทยาการของแผ่นดินไทย[31][32]
จนกระทั่งปีพ.ศ. 2520 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ได้มีพระราชดำรัสถึงความหมายของคำว่าเกษตรศาสตร์ตามชื่อของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ไว้ว่า[33]

Cquote1.svg
คำว่าเกษตรศาสตร์ อันเป็นชื่อของมหาวิทยาลัยนี้นั้น ฟังดูมีความหมายจำกัดอยู่เพียงการทำนา แต่ความจริง เกษตรศาสตร์ ตามความหมายในปัจจุบัน กินความกว้างขวางมาก คือรวมเอาวิชาหรือศาสตร์ทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับชีวิตจิตใจของมนุษย์เข้าไว้เกือบทั้งหมด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จึงสอนวิชาการสาขาต่าง ๆ มากมายหลายสาขา ทั้งฝ่ายวิทยาศาสตร์ ทั้งฝ่ายศิลปศาสตร์ เรียกได้ว่าครบถ้วนที่จะเป็นมหาวิทยาลัยในความหมายสากลอย่างสมบูรณ์
Cquote2.svg

คำ "เกษตรศาสตร์" ที่เป็นวิสามานยนามอันเป็นชื่อมหาวิทยาลัยแห่งนี้ อ่านว่า "กะ-เสด-สาด" แต่ในกรณีที่หมายถึงวิชาว่าด้วยการเกษตร คำนี้อ่านว่า "กะ-เสด-ตฺระ-สาด"






กลุ่มผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดคือ คณะนักบวชที่เรียกตนเองว่า "เพียวริตัน" ซึ่งอพยพมาจากประเทศอังกฤษโดยได้มีตั้งวิทยาลัยขึ้นมา มีจุดประสงค์ที่จะสร้างนักบวชเพื่อให้สามารถเผยแพร่ศาสนาตามแนวทางของลัทธิของตนได้ โดยเริ่มต้นในชื่อว่า "เดอะ นิว คอลเลจ" (The New College) ในปี พ.ศ. 2179 (ค.ศ. 1636) และได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อ วิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard College) เมื่อ 13 มีนาคม พ.ศ. 2182 (ค.ศ. 1639) ซึ่งตั้งชื่อเป็นเกียรติแก่ จอห์น ฮาร์วาร์ด นักบวชเพียวริแตนท่านหนึ่ง ซึ่งสำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเอมมานูเอล (Emmanuel College) ของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ผู้ได้ทำพินัยกรรมบริจาคหนังสือจำนวนประมาณ 400 เล่มและเงินจำนวนหนึ่งที่ไม่มากนักแก่ทางวิทยาลัย และในปี พ.ศ. 2323 (ค.ศ. 1780) วิทยาลัยได้เปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัย ในชั้นแรกนั้นวิทยาลัยมีครูเพียงคนเดียว และมีนักเรียนชุดแรก 12 คน โดยเป็นลักษณะโรงเรียนกินนอน
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดเริ่มเข้าสู่ยุคของความเป็นมหาวิทยาลัยสมัยใหม่ภายใต้การบริหารของ อธิการบดี ชาร์ล วิลเลียม อีเลียต (Charles William Eliot) ในระหว่างปี ค.ศ. 1869-1909 โดยอธิการบดีอีเลียต ได้เริ่มนำระบบวิชาเลือก การใช้ระบบหน่วยกิต การสอบคัดเลือก เข้ามาใช้กับมหาวิทยาลัย

Harvard University is a private Ivy League university located in Cambridge, Massachusetts, United States, established in 1636 by the Massachusetts legislature. Harvard is the oldest institution of higher learning in the United States[6] and the first corporation (officially The President and Fellows of Harvard College) chartered in the country. Harvard's history, influence, and wealth have made it one of the most prestigious universities in the world.[7][8]
Harvard was named after its first benefactor, John Harvard. Although it was never formally affiliated with a church, the college primarily trained Congregationalist and Unitarian clergy. Harvard's curriculum and students became increasingly secular throughout the 18th century and by the 19th century had emerged as the central cultural establishment among Boston elites.[9][10] Following the American Civil War, President Charles W. Eliot's forty year tenure (1869–1909) transformed the college and affiliated professional schools into a centralized research university, and Harvard became a founding member of the Association of American Universities in 1900.[11] James Bryant Conant led the university through the Great Depression and World War II and began to reform the curriculum and liberalize admissions after the war. The undergraduate college became coeducational after its 1977 merger with Radcliffe College. Drew Gilpin Faust was elected the 28th president in 2007 and is the first woman to lead the university. Harvard has the largest financial endowment of any academic institution in the world, standing at $27.4 billion as of September 2010.[3]
The university comprises eleven separate academic units — ten faculties and the Radcliffe Institute for Advanced Study — with campuses throughout the Boston metropolitan area.[12] Harvard's 210-acre (85 ha) main campus is centered on Harvard Yard in Cambridge, approximately 3.4 miles (5.5 km) northwest of downtown Boston. The business school and athletics facilities, including Harvard Stadium, are located across the Charles River in Allston and the medical, dental, and public health schools are located in the Longwood Medical Area.[5]
As of 2010, Harvard employs about 2,100 faculty to teach and advise approximately 6,700 undergraduates (Harvard College) and 14,500 graduate and professional students.[13] Eight U.S. presidents have graduated from Harvard and 75 Nobel Laureates have been affiliated with the university as students, faculty, or staff. Harvard is also the alma mater of sixty-two living billionaires, the most in the country.[14] The Harvard University Library is the largest academic library in the United States, and the third largest library in the country.[15]
The Harvard Crimson competes in 41 intercollegiate sports in the NCAA Division I Ivy League. Harvard has an intense athletic rivalry with Yale University traditionally culminating in The Game, although the Harvard–Yale Regatta predates the football game.








มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถือกำเนิดขึ้นจากการจัดตั้งโรงเรียนกฎหมาย[6] เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2440 โดยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม แต่ครั้งมีพระยศที่พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ฯ เพื่อให้การศึกษาอบรมด้านนิติศาสตร์โดยเฉพาะซึ่งไม่เคยมีมาก่อนหน้านี้[ต้องการอ้างอิง] อย่างไรก็ดี แม้ครั้งนั้นมีสถานะเป็นแต่โรงเรียนอันมิใช่ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ ก็ได้มีแจ้งความของโรงเรียนเกี่ยวกับกำหนดการสอบไล่ของนักเรียนกฎหมายลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาอันเป็นหนังสือพิมพ์ข่าวราชการด้วย[ต้องการอ้างอิง] สำหรับที่ตั้งของโรงเรียนกฎหมายนั้นได้แก่ห้องเสวยของเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมซึ่งอยู่ถัดจากห้องทรงงาน[ต้องการอ้างอิง] โดยเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมทรงให้การศึกษาด้วยพระองค์เองเมื่อทรงเสร็จสิ้นการเสวยพระกระยาหารกลางวันแล้ว ครั้นมีนักเรียนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ จึงมีการย้ายไปทำการเรียนการสอนยังตึกสัสดีหลังกลาง กระทรวงยุติธรรม
พ.ศ. 2453 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ฯ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงพ้นจากตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม หลังจากนั้นโรงเรียนกฎหมายก็ทรุดโทรมตามลำดับ และต้องไปเปิดทำการเรียนการสอนเป็นการชั่วคราวที่วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ราชวรมหาวิหาร และที่เรือนไม้หลังเล็ก ๆ ระหว่างตึกศาลแพ่งกับตึกเก๋งจีนซึ่งบัดนี้ทำลายลงแล้ว
พ.ศ. 2454 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงรับโรงเรียนกฎหมายไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยให้สังกัดกระทรวงยุติธรรม และให้เสนาบดีกระทรวงยุติธรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบโรงเรียนนี้ โดยสถานที่เรียนนั้นย้ายมายังตึกกรมประชาสัมพันธ์เดิมบริเวณเชิงสะพานผ่านพิภพลีลา
ในปี พ.ศ. 2475 ได้เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน โดยในคำประกาศของคณะราษฎรในวันยึดอำนาจกล่าวว่า การที่ราษฎรยังถูกดูหมิ่นว่ายังโง่อยู่ ไม่พร้อมกับระบอบประชาธิปไตยนั้น “เป็นเพราะขาดการศึกษาที่พวกเจ้าปกปิดไว้ไม่ให้เรียนเต็มที่”[7] นโยบายหรือหลักประการที่ 6 ใน หลัก 6 ประการของคณะราษฎร จึงระบุไว้ว่า “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร”[7] สถาบันศึกษาแบบใหม่ที่เปิดกว้างให้ประชาชนชาวสยามได้รับการศึกษาชั้นสูง โดยเฉพาะที่จะรองรับการปกครองบ้านเมืองที่เปลี่ยนไป จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องมาคู่กันกับการเปลี่ยนแปลงการปกครอง [1][8]
พ.ศ. 2476 รัฐบาลได้จัดตั้งคณะนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ขึ้นในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นแห่งแรกในประเทศไทย แล้วให้โอนโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม ไปสมทบกับคณะนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ดังกล่าวเมื่อวันที่ 25 เมษายน ปีนั้นเอง[9] ครั้งนั้นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดให้การเรียนการสอนของโรงเรียนกฎหมาย เป็นแผนกวิชาหนึ่งในคณะดังกล่าว ทั้งนี้ การโอนไปสมทบดังกล่าวเป็นแต่ทางนิตินัย ทว่าโดยพฤตินัยแล้ว ยังคงจัดการเรียนการสอนยังคงอยู่ที่เชิงสะพานผ่านพิภพลีลาเช่นเดิม[10] ซึ่งการให้โอนโรงเรียนกฎหมายไปสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนี้เป็นอีกแรงผลักดันหนึ่งที่ทำให้เกิดการก่อตั้ง มธก. ขึ้น โดยกลุ่มอดีตนักเรียนโรงเรียนกฎหมายของกระทรวงยุติธรรม กล่าวคือได้สร้างความไม่พอใจให้แก่นักเรียนโรงเรียนกฎหมาย ที่ต้องการให้ยกฐานะโรงเรียนของตนเป็นมหาวิทยาลัยดังเช่นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่กลับถูกทำให้เสมือนถูกยุบหายไป จึงมีผลผลักดันให้นักเรียนกฎหมายดังกล่าวเคลื่อนไหวหนุนให้มีการก่อตั้ง มธก. ขึ้น[1] โดยเมื่อจัดตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองนั้น ได้โอนทรัพย์สินตลอดจนคณาจารย์ของโรงเรียนกฎหมายเดิม เข้ามาสังกัดในมหาวิทยาลัยใหม่นี้ด้วย[11]
ด้วยเหตุทั้งหมดนี้ จึงได้มีการตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง พุทธศักราช 2476 ขึ้นเมื่อวันที่ 17 มีนาคม ปีนั้น และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ปีเดียวกัน[12] โดยความสำคัญว่า

Cquote1.svg
มาตรา 4 ให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นมหาวิทยาลัยหนึ่ง เรียกว่า 'มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง' มีหน้าที่จัดการศึกษาวิชากฎหมาย วิชาการเมือง วิชาเศรษฐการ และบรรดาวิชาอื่น ๆ อันเกี่ยวกับธรรมศาสตร์และการเมือง
มาตรา 5 ให้โอนคณะนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตลอดจนทรัพย์สินและงบประมาณของคณะเหล่านั้นมาขึ้นต่อมหาวิทยาลัยนี้ก่อนวันที่ 1 เมษายน พุทธศักราช 2477
Cquote2.svg


อนุสาวรีย์ปรีดี พนมยงค์ ผู้ประศาสน์การ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" ที่หน้าตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
และเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จทำพิธีเปิดมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ณ ที่ตั้งเก่าของโรงเรียนกฎหมาย บนถนนราชดำเนิน เชิงสะพานผ่านพิภพลีลา[1][13][14] โดยนายปรีดี พนมยงค์ ได้กล่าวไว้ในโอกาสจัดตั้งมหาวิทยาลัยว่า

Cquote1.svg
"การตั้งสถานศึกษาตามลักษณะมหาวิทยาลัยย่อมเป็นเครื่องพิสูจน์ และเป็นปัจจัยในการแสดงความก้าวหน้าของประเทศ ประชาชนชาวสยามจะเจริญในอารยธรรมได้ก็โดยอาศัยการศึกษาอันดีตั้งแต่ชั้นต่ำ ตลอดจนการศึกษาชั้นสูง เพราะฉะนั้นการที่จะอำนวยความประสงค์และประโยชน์ของราษฎรในสมัยนี้ จึงจำต้องมีสถานการศึกษาให้ครบบริบูรณ์ทุกชั้น”[1]
Cquote2.svg

และ

Cquote1.svg
“มหาวิทยาลัยย่อมอุปมาประดุจบ่อน้ำบำบัดความกระหายของราษฎร ผู้สมัครแสวงหาความรู้อันเป็นสิทธิและโอกาสที่เขาควรมีควรได้ตามหลักแห่งเสรีภาพในการศึกษา รัฐบาลและสภาผู้แทนราษฎรเห็นความจำเป็นในข้อนี้ จึงได้ตราพระราชบัญญัติจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้น"[1]
Cquote2.svg

ในช่วงเวลา 2 ปีแรก (พ.ศ. 2477-2479) การเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยยังคงดำเนินอยู่ที่ตึกโรงเรียนกฎหมายเดิมที่เชิงสะพานผ่านฟ้าภิภพลีลา[1] ต่อมาเมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2478 มหาวิทยาลัยขอซื้อที่ดินบริเวณท่าพระจันทร์ ซึ่งเดิมป็นที่ของทหาร และปรับปรุงอาคารเดิมพร้อมทั้งสร้างตึกโดม โดยเงินที่ซื้อที่ดินรวมทั้งการก่อสร้างได้มาจากเงินที่มหาวิทยาลัย เก็บจากค่าสมัครและค่าเล่าเรียน นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังได้ตั้งธนาคารเอเชียขึ้น เพื่อเป็นสถานที่สำหรับนักศึกษาวิชาการบัญชีใช้เป็นที่ฝึกงานด้วย
พ.ศ. 2481 มหาวิทยาลัยตั้งโรงเรียนเตรียมปริญญามีหลักสูตร 2 ปี เพื่อรับผู้ประสงค์จะเข้าเรียนต่อ ที่มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองโดยตรง โรงเรียนเตรียมปริญญามีหลักสูตรการสอนหนักไปทางด้านภาษา ทั้งภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และวิชาด้านสังคม เช่น ปรัชญา วิชาเทคโนโลยี ดนตรี พิมพ์ดีด และชวเลข เป็นต้น และถูกยกเลิกไปในปีพ.ศ. 2490
เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 คณะรัฐประหารได้ยึดอำนาจการปกครองประเทศ ทำให้มหาวิทยาลัยได้รับผลกระทบโดยตรง[15] ผู้ประศาสน์การ ปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ชื่อมหาวิทยาลัยถูกตัดคำว่า “การเมือง” ออกจากชื่อมหาวิทยาลัย เหลือเพียง “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์”[16] ตำแหน่งผู้ประศาสน์การถูกยกเลิก เปลี่ยนเป็นตำแหน่งอธิการบดี[1] หลักสูตรการศึกษาธรรมศาสตร์บัณฑิต ถูกเปลี่ยนแปลงเป็น นิติศาสตร์, พาณิชยศาสตร์และการบัญชี, รัฐศาสตร์ และ เศรษฐศาสตร์ ความเป็นตลาดวิชาหมดไปตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2495[ต้องการอ้างอิง]
พ.ศ. 2518 ศาสตราจารย์ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ อธิการบดีในขณะนั้น เห็นว่าควรที่จะขยายการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ในชั้นปริญญาตรีเพิ่มขึ้น พื้นที่เดิมบริเวณท่าพระจันทร์ ไม่เพียงพอต่อการขยายตัวทางวิชาการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยจึงเจรจาขอใช้ที่ดินนิคมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อรองรับการขยายตัวของมหาวิทยาลัย เรียกว่ามหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ซึ่งเจริญก้าวหน้าและพัฒนามาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังขยายไปที่ ศูนย์ลำปาง และศูนย์พัทยาด้วย โดยอยู่บนพื้นฐานการปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นธรรมศาสตร์ ดั่งเช่น จิตวิญญาณธรรมศาสตร์ท่าพระจันทร์
ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ยังคงเปิดดำเนินการและมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดยหลักสูตรปริญญาตรีภาคปกติทั้งหมด และหลักสูตรบัณฑิตศึกษากลุ่มวิทยาศาสตร์ได้ดำเนินการเรียนการสอน ณ ศูนย์รังสิต และหลักสูตรบัณฑิตศึกษากลุ่มสังคมศาสตร์ โครงการนานาชาติ และโครงการพิเศษดำเนินการเรียนการสอน ณ ท่าพระจันทร์[17]